Bobblehead Bunny

วันเสาร์ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

บทความ


สรุปบทความ

               การเข้าครัวจะช่วยสร้างสมดุลในการพัฒนาของสมองทั้ง 2 ซีกของเด็กๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านวิชาการ ในขณะทำครัว เด็กๆจะได้ฝึกทักษะของการบวกลบเลขในระหว่างขยวนการการชั่งส่วนผสม แถมยังได้รู้จักเศษส่วนพื้นฐานไปในตัวระหว่างการฝึกใช้ถ้วยตวง  และทีสำคัฐคือการบริหารเวลา รู้ลำดับขั้นตอนการทำงานหรือด้านความคิด ได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ สร้างสัมพันธภาพที่ดีให้กับครอบครัว


สรุปวิจัย

รุปวิจัย
เรื่อง   การคิดอุปนัยของเด็กปฐมวัยที่เล่นเกมการศึกษาเรียงลำดับ


          1. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการเล่นเกมเรียงลำดับ มีการคิดอุปนัยที่สูงขึ้นกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญที่งสถิติที่ระดับ 0.01
          2. เด็กปฐมวัยที่เล่นเกมการศึกษาเรียงลำดับ  มีการเปลี่ยนแปลงการคิดอุปนัยสูงขึ้นกว่าก่อนการทดลองในการเปรียบเทียบความแตกต่างมาเป็นอันดับแรก รองมาด้านการหาความสัมพันธ์ และด้านการสังเกต ตามลำดับ


วันอังคารที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

ตัวอย่างการสอน

               ตัวอย่างการสอน
     การเรียนการสอนที่ต่างประเทศเน้นให้เด็กเกิดการเรียนรู้จากสิ่งรอบตัว เช่นการดูเวลา การนับวัน การบอกกลางวันกลางคืน สภาพอากาศ เปิดโอกาสให้เด็กได้พูดได้กล้าแสดงออก เป็นการช่วยเพิ่มทักษะทางด้านคณิตศาสตร์ให้กับเด็ก  เราในฐาานะที่เป็นครูไม่ควรที่จะปิดกั้นความคิด ไม่ควรกำหนดกรอบของคำตอบเพราะนั่นหมายถึงการฆ่าเด็ก การฆ่าเด็กในที่นี้คือการที่เด็กจะต้องตอบตามที่ครูกำหนดไว้ เด็กจะไม่มีความคิด แนวคิดเห็นของตัวเอง และนี่ก็อาจจะเป็นเหตุที่ทำให้เด็กไม่ชอบคณิตศาสตร์

     ที่ต่างประเทศสอนคณิตศาสตร์ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนเพื่อมำให้เด็กเข้าใจว่าคณิตศาสตร์ไม่ใช่เพียงแต่อยู่ในห้องเรียนแต่อยู่ในชีวิตประจำวัน สามารถนำมาเชื่อมโยงสอดคล้องกับสิ่งต่างได้


วันเสาร์ที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2561

การบันทึกครั้งที่ 16


วันเสาร์ที่ 28 เมษายน พ.ศ.2561     เวลา 08:30 - 12:30 น.

          เนื้อหาที่เรียน
                กิจกรรมที่ 1 
การนำเสนอสื่อการสอนคณิตศาสตร์และสรุปผลการสังเกตพฤติกรรมการเล่นของเด็กในการสอนกิจกรรม
มีดังนี้  


นางสาววสุธิดา  คชชา และนางสาววิภาพร  จิตอาคะ 

นางสาวสุภาวดี  ปานสุวรรณ 

นางสาวปวีณา  พันธ์กุล นำเสนอสื่อในรูปแบบคลิปวิดีโอ มีการสาธิตการเล่นสื่อแบบอนุกรม ได้ฟังคำแนะนำจากอาจารย์ในการปรับแก้สื่อ และวิธีการเล่น  คือการเพิ่มโจทย์ในการกำหนดให้เด็กเล่นอนุกรม โดยใช้สีเป็นตัวแบบ เช่น แดง ______    ______  เหลือง แดง  แดง เขียว เหลือง แดง  แดงเขียว เหลือง   และใช้คำถามว่า ช่องที่ว่างจะเป็นสีอะไร  เพื่อกระตุ้นให้เด็กคิด


นางสาวณัฐชา  บุญทอง  และนางสาวอรอุมา  ศรีท้วม 


นางสาวกิ่งแก้ว  ทนนำ นำเสนอสื่อเดี่ยว 

นางสาวสุภาภรณ์  วัดจัง และนางสาวสุจิณณา  พาพันธ์  


นางสาวสิริวดี  นุเรศรัมย์ 


นางสาวอุไรพร  พวกดี และนางสาวชานิศา  หุ้ยทั่น 

นางสาววิจิตรา  ปาคำ 

นางสาวสุพรรณิการ์  สุขเจริญ  และนางสาวอภิชญา  โมคมูล 





งานที่ได้รับมอบหมาย


1. การสร้างรูปร่าง รูปทรงเรขาคณิต










2.กิจกรรมคณิคศาสตร์ที่ผู้ปกครองสามารถเล่นกับลูกได้


กิจกรรมเรียนรู้คณิตจากการทำอาหาร เป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ทุกวัน เป็นการส่งเสริมให้เด็กซึมซับคณิตศาสตร์ไปโดยไม่รู้ตัว

          บรรยากาศในห้องเรียน
               เป็นไปด้วยดี การนำเสนอก็ออกมาได้ดี อากาศหนาวเล็กน้อย เนื่องจากฝนตก


          ประเมินวิธีการสอน
               การที่อาจารย์คอยมาสอนเป็นเพราะอาจารย์คาดหวังให้เราได้ดี การสอนของอาจารย์ให้ความสำคัญกับนักศึกษามาก เพราะอยากให้มีความรู้ มีคว่มแม่นยำและเป็นครูในอนาคตที่ดี




วันพุธที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2561

การบันทึกครั้งที่ 15


วันพุธที่ 25 เมษายน พ.ศ.2561     เวลา 08:30 - 12:30 น.

          เนื้อหาที่เรียน
               กิจกรรมที่ 1
                  เพื่อนออกมานำเสนอวิจัย คือ นางสาวรัติยากร  ศาลาฤทธิ์ นำเสนอวิจัยเรื่องการพัฒนาทักาะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้ศิลปะสร้างสรรค์

รูปแบบวิจัย
1.การะตุ้นการเรียนรู้
2.กรองสู่มโนทัศน์
3.พัฒนาด้วยศิลปะ
4.สาระที่เรียนรู้

               กิจกรรมที่ 2
                  นำเสนอสื่อการเรียนรู้คณืตศาสตร์จากวัสดุเหลือใช้ "ถาดรองไข่" ของกลุ่มเรียน 121 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
















          บรรยากาศในห้องเรียน
               วันนี้มีแต่รอยยิ้ม ถึงแม้งานของบางกลุ่มอาจจะผิดพลาดบ้างแต่ก็ไม่เป็นไร เพราะวันนี้ทุกคนต่างสนุกกับสื่อที่เพื่อนทำมา


          ประเมินวิธีการสอน
                - ผลงาน ชิ้นงาน
                - การตอบคำถาม


วันพุธที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2561

การบันทึกครั้งที่ 14


วันพุธที่ 18 เมษายน พ.ศ.2561     เวลา 08:30 - 12:30 น.

          เนื้อหาที่เรียน
            กิจกรรมที่ 1
               วันนี้เพื่อนทุกคนนำสื่อถาดไข่มาให้อาจารย์ตรวจความคืบหน้า พร้อมทั้งบอกวัตถุประสงค์ของสื่อที่ทำมา
ต่อมาพูดถึงเรื่องการคิดวิเคราะห์ ว่าจะต้องมีดังนี้ 
1. ปัญหา
2.ข้อย่อย (ประเด็น)
3. ภาพ (มองง่าย)
4. สร้างประเด็น / สร้างปัญหา
5. ใช้ภาษาสื่อสาร
          หาค่าโดย
1. การสังเกต  ให้คะแนน
2. การสนทนา  แบบบันทึก
3. การประเมิน   ดูจากผลงาน ชิ้นงาน สะท้อนพัฒนาการของเด็ก


         กิจกรมมที่ 2
               ผึกการร้องเพลงที่เป็นตัวช่วยให้เด็กปฏิบัติตาม
1. เพลงสวัสดียามเช้า  (สัมพันธ์เรื่องเวลา และกิจวัตรประจำวัน)
2. เพลงสวัสดีคุณครู   (สัมพันธ์เรื่องกิจวัตรประจำวัน)
3. หนึ่งปีมี 12 เดือน   (สัมพันธ์กับวัน เดือน ปี )
4. เพลงเข้าแถว   (สัมพันธ์กับเรื่องระยะความห่างในการเข้าแถว)
5. เพลงจัดแถว   (สัมพันธ์เรื่องความน่าจะเป็น)
6. เพลงซ้าย - ขวา   (สัมพันธ์เรื่องทิศทาง)



           กิจกรรมที่ 3
              แจกกระดาษมาให้คนละ 1 แผ่น พร้อมกับคำถามดังนี้
1. เด็กปฐมวัยเรียนรู้อะไรในคณิตศาสตร์
2. การอนุรักษ์ หมายถึง
3. จะรู้ได้อย่างไรว่าเด็กผ่านขั้นอนุรักษ์
4. สาระคณิตศาสตร์มีอะไรบ้าง
5. สาระที่ 6 มีมาตรฐาน หรือไม่
6. คุณภาพของเด็กที่จบไปต้องมีอะไรบ้าง


          บรรยากาศในห้องเรียน
                เพื่อนๆ ต่างตั้งใจเรียน และพยายามทำสื่อเพื่อให้ออกมาดีที่สุด ดูได้จากชิ้นงานที่นำมา


          ประเมินวิธีการสอน
               วันนี้เป็นการสอบเพื่อทบทวนความรู้ ดังนั้นความรู้ที่เราเรียนมาเข้าใจหรือไม่เข้าใจจะขึ้นอยู่กับเรา